ในกรณีที่หมากได้เปรียบกันไม่มาก หากหมากเข้ากล และเรารู้จักกล ก็จะรู้จังหวะการเดิน ถ้าเป็นฝ่ายไล่พยายามเดินให้เข้ากล จะไล่ให้จนได้ ถ้าเป็นฝ่ายหนีต้องพยายามหนีออกจากกล เป็นการชิงไหวชิงพริบ มีประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
กลที่ 210 2 ทีหมากดำหนี 3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 211 2 ทีหมากดำหนี 3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 212 2 ทีหมากดำหนี 3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 213 15 ทีหมากดำหนี 16 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 214 2ทีหมากดำหนี 3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 219 2 ทีหมากดำหนี 3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 220 18 ทีหมากดำหนี 19 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 221 4 ทีหมากดำหนี 15 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 222 5 ทีหมากดำหนี 6 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 223 7 ทีหมากดำหนี 8 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 224 10 ทีหมากดำหนี 11 ทีหมากขาวไล่
1. ม้าคำถูกล้อม เดินไปตาใดก็ถูกกิน ถ้าเดินเรือขาวไป B5 | 2. ขุนดำอยู่ตาอับ อย่าไล่ให้เข้าตานี้ เพราะจะทำให้เสมอกัน |
3. เป็นการสาธิต ไม่จำเป็นต้องมีหมากครบทุกตัว ลองพิเคราะห์และประยุกต์ใช้